Thai Humanities Forum

เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทยครั้งที่ 1

|Thai Humanities Forum|

เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทยครั้งที่ 1

หัวหน้าโครงการ : รศ. ดร. สุวรรณา สถาอานันท์

หน่วยงาน : คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 

ระยะเวลา : 1 เมษายน 2547 – 31 มีนาคม 2548

วันที่จัดการประชุม : 26-27 สิงหาคม 2547

สถานที่จัด : อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จุดมุ่งหมาย

โครงการมุ่งเน้นการตอบสนองนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยเปิดพื้นที่ให้กับนิสิต นักศึกษา นักวิชาการ ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ตลอดจนนักวิชาการชาวต่างชาติได้มีบทบาทในการนาเสนอผลการวิจัย และสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมพิจารณาบทความวิจัยของนักวิชาการหลากหลายระดับ งานวิจัยที่เสนอเข้ามามุ่งตอบสนองต่อประเด็นปัญหาทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ในระดับชาติและระดับท้องถิ่น 

วัตถุประสงค์ 

  1. เพื่อเปิดเวทีเสนอผลงานวิจัย/วิชาการ ทางมนุษยศาสตร์ของไทย
  2. เพื่อพัฒนาแนวการศึกษาวิเคราะห์ซึ่งเน้นลักษณะสหสาขาวิชา
  3. เพื่อเชื่อมโยงการศึกษาวิจัยมนุษยศาสตร์กับปัญหาสังคมร่วมสมัย
  4. เพื่อจุดประกายให้วงวิชาการเห็นความสำคัญของการวิจัยทางมนุษยศาสตร์

 

คำสำคัญ: –

บทความวิจัยของโครงการ

  • อุษาคเนย์ในการรับรู้และความเข้าใจของสังคมไทยร่วมสมัย โดย ดร.สุเนตร  ชุตินธรานนท์  และคณะ
  • กระแสและแนวโน้มวรรณกรรมในสังคมวัฒนธรรมไทย โดย ผศ.ดร.ตรีศิลป์  บุญขจร  และคณะ
  • ปรัชญา ศาสนธรรม และความยุติธรรม

 

บทความวิชาการหัวข้อ “ประสบการณ์เชิงวัฒนธรรมในสังคมไทยร่วมสมัย: บทวิเคราะห์ทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์”

  • คณิต – วิทย์ ในประวัติศาสตร์ความรู้ โดย ศุภวิทย์ ถาวรบุตร กระทรวงการต่างประเทศ
  • ความบ้า พุทธศาสนา ในกวีนิพนธ์ระอาสังคมกลุ่ม The Beat โดย ดร.ดารินทร์ ประดิษฐทัศนีย์ คณะอักษรศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • อัตลักษณ์ชาติพันธุ์: บทศึกษากวีนิพนธ์ของจอย ฮาร์โจ โดย วศินรัฐ นวลศิริ คณะอักษรศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • กรุงเทพฯ กับภาพลักษณ์ “ผู้หญิงเหนือ” โดย ภักดีกุล รัตนา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
  • บางระจัน: ประวัติศาสตร์ในวรรณกรรม โดย ผศ.บาหยัน อิ่มสำราญ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 
  • บทละครพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 5: นาฏยกระบวนทัศน์ โดย รศ.จักรกฤษณ์  ดวงพัตรา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • สังคมไทยและชาวสยามในสมัยรัชกาลที่ 4 ในทัศนะของอองรี มูโอต์ โดย วราภรณ์ ก.ศรีสุวรรณ ผู้จัดการโครงการปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์ ภาคพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • (รื้อ)สร้างกรอบจักรวาลวิทยา: อ่านไตรภูมิด้วยแดริดา โดย น้ำผึ้ง ปัทมะลางคุณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • โหยหาอัตลักษณ์ในภาวะไร้รากโพสต์โคโลเนียล: บทศึกษา Kincaid’s Lucy โดย กุมุท พุทธานุ
  • “คนแม่แจ่ม” ในกระบวนการรื้อฟื้นผ้าซิ่นตีนจก โดย ปราโมทย์ ภักดีณรงค์ นักวิจัยอิสระ
  • ท้องถิ่น อัตลักษณ์ อำนาจรัฐ ในชุมชนป่าพรุควนเคร็งในภาคใต้ตอนบน โดย พิเชฐ แสงทอง นักวิจัยอิสระ
  • “สัมพันธบท” และการเข้าถึงความจริงกรณีปัญหาเขื่อนปากมูล โดย สุรสม กฤษณะจูฑะ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  • ภาพสังคมอเมริกันในภาพยนตร์ Star Wars ของ จอร์จ ลูคัส โดย นิชาภา ทิชากรสกุล สำนักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
  • รัฐกับพุทธศาสนา: ศึกษาจาก ‘กฎพระสงฆ์’ ในกฎหมายตราสามดวง โดย ชาญณรงค์ บุญหนุน คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • บุญคุณกับพันธะทางการเมือง โดย พุฒวิทย์ บุนนาค คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
  • ศาสตร์การตีความเรื่องเล่าของปอล ริเกอร์ ในการวิจัยทางการพยาบาล โดย ปกรณ์  สิงห์สุริยา คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • เรื่อง “ความจริงและการหาความจริงทางมนุษยศาสตร์” โดย  ศ.ดร.เจตนา  นาควัชระ ศ.ดร.ธงชัย  วินิจจะกูล รศ.ดร.มารค  ตามไท และรศ.ดร.สุวรรณา  สถาอานันท์
  • เรื่อง “จินตนาการชีวิตและสังคมในอุดมคติ: บทศึกษายูโทเปียตะวันตก-ตะวันออก” โดย รศ.ดร.สมบัติ  จันทรวงศ์ ผศ.ดร.ประพจน์  อัศววิรุฬหการ ผศ.อุกฤษฏ์  แพทย์น้อย และศ.ดร.ธงชัย  วินิจจะกูล
  • การอภิปรายเชิงวิเคราะห์วิจารณ์ประเด็น “ยูโทเปีย ตะวันออก-ตะวันตก”