Thai Humanities Forum

เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทยครั้งที่ 8

|Thai Humanities Forum|

เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทยครั้งที่ 8 “มนุษยศาสตร์ที่แปรเปลี่ยนในโลกที่เปลี่ยนแปลง”

หัวหน้าโครงการ : อ.ดร.จิรภัทร แจ้งจำรัส

หน่วยงาน : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 

ระยะเวลา : 1 พฤษภาคม 2557 ถึง 1 สิงหาคม 2558

วันที่จัดการประชุม : 27 – 29 พฤศจิกายน 2557

สถานที่จัด : โรงแรมอิมพีเรียล แม่ปิง จ.เชียงใหม่

จุดมุ่งหมาย

โครงการมุ่งเน้นการตอบสนองนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยเปิดพื้นที่ให้กับนิสิต นักศึกษา นักวิชาการ ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ตลอดจนนักวิชาการชาวต่างชาติได้มีบทบาทในการนาเสนอผลการวิจัย และสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมพิจารณาบทความวิจัยของนักวิชาการหลากหลายระดับ งานวิจัยที่เสนอเข้ามามุ่งตอบสนองต่อประเด็นปัญหาทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ในระดับชาติและระดับท้องถิ่น 

วัตถุประสงค์ 

  1. เพื่อสร้างความตระหนักในความสำคัญของมนุษยศาสตร์และพลวัตของมนุษยศาสตร์ที่ตอบสนองต่อชีวิตมนุษย์และช่วยแก้ปัญหาสังคมในโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว 
  2. เพื่อพัฒนาแนวการศึกษาและวิธีวิทยาทางมนุษยศาสตร์ที่เน้นสหสาขาวิชาและการ บูรณาการโดยเชื่อมโยงมนุษยศาสตร์กับศาสตร์อื่น 
  3. เสริมสร้างเครือข่ายนักวิจัยทางมนุษยศาสตร์ในสังคมไทยและในต่างประเทศ
  4. เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองคณะมนุษยศาสตร์ครบรอบ 50 ปี

 

คำสำคัญ: มนุษยศาสตร์, อัตลักษณ์, ระเบียบวิธีวิจัย, จริยธรรม, การวิจารณ์, โลกาภิวัตน์, วัฒนธรรม, ดิจิทัล, การสื่อสาร, กวีศาสตร์

วรรณกรรมกับประวัติศาสตร์และการเมือง

  • สัจนิยมในวรรณกรรม:การบรรจบกันของประวัติศาสตร์กับการเมือง โดย ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

 

Aging, Literature, Philosophy

  • Ageless Eve โดย Adele Y.D. Sun 

 

ความเชื่อของม้งในหลวงพระบาง 

  • การปรับเปลี่ยนความเชื่อและความหมายของสถานที่ของที่ตั้งบ้านและที่ฝังศพของชนเผ่าม้งในเมืองหลวงพระบาง สปป.ลาว โดย ยิ่งทรง ทะนงศักดิ์, ชูศักดิ์ วิทยาภัค

 

ประวัติศาสตร์นิพนธ์ฟิลิปปินส์

  • ประวัติศาสตร์นิพนธ์ฟิลิปปินส์ : จากยุคอาณานิคมถึงยุคหลังอาณานิคม โดย สิริฉัตร รักการ

 

รัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์สยาม : การปฏิรูปกฎหมายและการศาล

  • การปฏิรูปกฎหมายและการศาลในเจ็ดหัวเมืองมลายู ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นศตวรรษที่ 20 โดย ปิยดา ชลวร
  • ชีวิตสามัญชนในภาคเหนือตอนล่างกับการก้าวสู่รัฐสมัยใหม่ของสยาม โดย ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว
  • ระบบกฎหมาย/ระบบตุลาการในยุคปฏิรูปกฎหมาย พ.ศ.2434-2454 โดย กฤษณ์พชร โสมณวัตร

 

Interrogating the Body and Landscape of Imagination in Art and Literature

  • “As beautiful as you are told” : A Critique on the Ideology of Natural Beauty in “The Body Project” Exhibition โดย เมธาวี โหละสุต
  • R.S. Thomas and Localism : The True Wales of his Imagination and Cultural Landscapes โดย Chaiyon Tongsukkaeng 
  • “Do as you please, comrades, make a dog of me, spit on me too” : Initiation Ceremonies, the Rape of History and the Ravages of Political Fanaticism in Milan Kundera’s The Joke โดย Verita Sriratana 

 

Rethinking the Medium of State, Nation, and Sovereignty

  • Photos and Papers : Visualizing and Documenting the State in Siam โดย Soren Ivarsson, Sing Suwannakij
  • In Search for ‘Self’ and ‘Nation’: Liu Kang and the Cultural Interpretation of Nanyang Art โดย Kunyi Zou, Sittithep Eaksittipong

 

ทำความเข้าใจท้องถิ่นนิยมใหม่

  • การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและอารมณ์ความรู้สึกของชาวบ้านในชนบทเชียงใหม่ : กรณีศีกษาหมู่บ้านเจดีย์แม่ครัวจังหวัดเชียงใหม่ (พ.ศ. 2530 – ปัจจุบัน) โดย ธีรพงศ์ เกตุมณี
  • ความหลากหลายและความเปลี่ยนแปลงของ “อุดมการณ์ท้องถิ่นนิยม” ในสังคมเชียงใหม่ โดย เกษกานต์ ขัติยะ 
  • การแก้ไขปัญหาภาคใต้ครั้งแรกของรัฐไทย : ข้อเรียกร้องของมลายูมุสลิมกับการตอบสนองของรัฐไทย โดย พุทธพล มงคลวรวรรณ 

 

ทบทวนการเคลื่อนไหวทางภูมิปัญญาและปฏิกิริยาต่ออำนาจรัฐ

  • การเคลื่อนไหวทางภูมิปัญญาของ “ปัญญาชนกลุ่มวิถีทรรศน์” ในการเมืองไทยยุคโลกาภิวัฒน์ ระหว่าง พ.ศ. 2540-2550 โดย ธิกานต์ ศรีนารา
  • ส่องพลวัตพะเยา แลแพร่นิยม : กรณีเงี้ยวก่อจลาจล รศ.121 โดย มนตรา พงษ์นิล
  • “พระป่า” ธรรมยุตอีสาน ในพุทธศตวรรษที่ 25 : ภาพสะท้อน “ทวิอัตลักษณ์” ระหว่างอำนาจรัฐ และ ท้องถิ่น โดย อาสา คำภา

 

พุทธศาสนาในโลกที่เปลี่ยนแปลง

  • ความไม่สอดคล้องกันของกฎหมายทางโลกกับหลักปฏิบัติทางธรรมของพระภิกษุสงฆ์  โดย เกวลิน ต่อปัญญาชาญ
  • วิกฤตอัตลักษณ์และสังคมความเสี่ยงสูงในชีวิตของผู้หญิงชั้นกลางกับการบริโภคหนังสือธรรมะแนวใหม่และลัทธิพิธีใหม่  โดย ภัทริยา คงธนะ
  • พุทธศาสนาแบบฆารวาส : การปฏิบัติศาสนาของหนุ่มสาวสมัยใหม่ โดย ธิติมา อุรพีพัฒนพงศ์

 

The Space of Cultural and Emotion in Music and Film 

  • Hip Hop Music in Sri Lankan Culture: In Between Globalization and Glocalization โดย Uthpala Herath
  • Communicating humor: An investigation through Woody Allen’s films โดย Kitt Wongarsa, Junteera Danpo
  • Teenage under Asian Modernity – A perspective from two teenage movies, one in Taiwan and the other in Thailand โดย Hisn-Ju Yang

 

ไทยในจินตนาการญี่ปุ่นและญี่ปุ่นในไทย

  • ไทยในงานเขียนเกี่ยวกับการเดินทางของชาวญี่ปุ่นสมัยเมจิถึงสมัยโฌวะ โดย ทนพร ตรีรัตน์สกุลชัย
  • ความสัมพันธ์ทางการศึกษาและสังคมระหว่างชาวญี่ปุ่นและชาวไทยในจังหวัดเขียงใหม่ช่วงก่อนสงครามและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง  โดย วลัยพร กาญจนการุณ, ธีรัช ปัญโญ, Yamaguchi Masayo
  • Japanese Hidden Heritage in Thailand โดย Sakesit Paksee

 

การเมืองเชิงสัญลักษณ์ : ภาพสะท้อนในศิลปะและงานเขียนหลัง พ.ศ.2475

  • ศิลป พีระศรี กับความหมายทางสังคมและการเมืองของศิลปะแบบใหม่หลังการปฏิวัติพ.ศ. 2475 ถึงสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 2 โดย เกษรา ศรีนาคา
  • “คนสู้ชีวิต” : ความหมายและความสำเร็จของชีวิตของคนไทยระหว่างการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475 ถึงพุทธศตวรรษที่ 2520 กรณีศึกษางานเขียนประเภทชีวประวัติบุคคลสำคัญ โดย ภาคิน นิมมานนรวงศ์ 
  • “สัญลักษณ์รัฐธรรมนูญ” : การศึกษาเชิงการเมืองวัฒนธรรมในการสร้างสัมลักษณ์แทนระบอบประชาธิปไตยภายหลังการปฏิวัติ พ.ศ.2475 โดย ศราวุฒิ วิสาพรม

 

เพศภาวะ : มายาคติที่ปรากฏในวรรณกรรมและอัตลักษณ์ที่ปรากฏในภาษา

  • ไม่ปรากฏ : การเผยร่างของสิ่งที่ถูกทำให้ไม่ปรากฏในสังคมไทย โดย อาทิตย์ ศรีจันทร์
  • หญิงรักหญิงกับมายาคติรักต่างเพศใน เงาพระจันทร์ ของโสภาค สุวรรณ โดย ชุติมา ประกาศวุฒิสาร 
  • อัตลักษณ์ทางเพศที่ปรากฏในภาษาของเพศที่สาม โดย พวงผกา หลักเมือง

 

Living with Globalization: Self and Negotiation

  • Toward Universal Intimacy : Self and Globalization โดย David Jones
  • A Multi-method Approach : Globalization, Lived Experience and Negotiating :  a case study of eastern Thailand โดย Unaloam Chanrungmaneekul

 

The Digital Challenge: Politics, Culture and Media

  • Political Satire Posters: The Politics and Epistemological Challenge of Cultural Representations in Online Social Media โดย Pasoot Lasuka
  • Transforming & Mutations of the Chinese Language Publishing Cencept & Definition in the Digital Age โดย Yu-Ching Lee

 

แง่มุมทางวัฒนธรรมและภาษาบนเฟซบุ๊ก

  • การสื่อสารผ่าสังคมออนไลน์บนหน้าแฟนเพจ “ข้อความโดน ๆ” ในเฟซบุ๊ก : มูลบททางวัจนปฏิบัติศาสตร์ โดย สิริกัญญา สุขสวัสดิ์
  • เพจเซ็กซี่ แพนเค้ก: วัฒนธรรมประชานิยมกับพื้นที่กะเทยชนบทอีสาน โดย วัชรวุฒิ ซื่อสัตย์

 

การวิจัยเพื่อสร้างสรรค์มนุษยศาสตร์

  • ความเป็นศาสตร์แบบสหวิทยาการกับวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ โดย วรพงศ์ ไชยฤกษ์
  • ควรมีการเรียนการสอนระเบียบวิธีวิจัยระดับปริญญาตรีในสายมนุษยศาสตร์หรือไม่ : กรณีศึกษาเชิงคุณภาพในหลักสูตรสาขาวิชาภาษาอังกฤษ โดย บดินทร์ จินดา, ประนุท สุขศรี

ปาฐกถา

  • หัวข้อ Keywords for Studying Religion, Power and the Self โดย Prof. Craig J. Reynolds (Australian National University, Australia)
  • หัวข้อ Using Art as a Resource for Historical Studies โดย Assoc. Prof. Maurizio Peleggi (National University of Singapore, Singapore)
  • หัวข้อ “ระเบียบวิธีวิจัยทางมนุษยศาสตร์” ศ. อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

 

อภิปราย

  • หัวข้อ “การสร้างและการสื่อสารความรู้ทางมนุษยศาสตร์กับอัตลักษณ์ของอาเซียน”
  1. “Questioning ASEAN Connectivity” โดย ศ.ชยันต์ วรรธนะภูมิ (ประธานศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
  2. “Social in Language Changes in Myanmar” โดย Dr. Aung Myint Oo (University of Yangon, Myanmar)
  3. “Identity, Neighborhood Community and Civil Society in Asia” โดย ”Prof. Yutaka Tsujinaka (University of Tsukaba, Japan)
  • หัวข้อ “ความท้าทายของการเป็นมนุษย์ในยุคดิจิทัล” โดย ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล (ผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)) ดร.กุลวดี ทองไพบูลย์ (คณะมนุษศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) ผศ.วาสนา วงศ์สุรวัฒน์ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
  • หัวข้อ “บทบาทและอนาคตมนุษยศาสตร์: วิพากษ์ข้ามสาย” โดย ศ.อานันท์ กาญจนพันธุ์ (คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) รศ.วีระ สมบูรณ์ (คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) พระอาจารย์ธนดิตถ์ ธัมมนันโท (ปิยโปฏกธรรมสถาน)

 

การอ่านบทกวี “เฉลิมฉลองมนุษยศาสตร์ครบรอบ 50 ปี” โดย รศ.สุพรรณ ทองคล้อย (คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)