ปรากฏการณ์ท้องถิ่นนิยม
- สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างพื้นถิ่นในวัฒนธรรมเกลืออีสาน: ข้อเสนอทางกายภาพด้านวิชาการเกลืออีสาน โดย อมฤต หมวดทอง,สุพิชชา โตวิวิชญ์, อรศิริ ปาณินท์
- ประวัติการตั้งถิ่นฐานและการสร้างเครือข่ายของชาวมุสลิมอีสาน: กรณีศึกษาชาวมุสลิมในเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โดย ธิติญา เหล่าอัน
- “หนี้” อำนาจควบคุมชีวิตผู้ประกอบการในชนบทใต้กระแสเสรีนิยมใหม่ โดย ธีรพงศ์ เกตุมณี
ศาสนาและความเชื่อ
- โลกทัศน์และความรู้ในงานเขียนของพระโพธิวงศาจารย์ (อ้วน ติสโส) กรณีงานที่ตีพิมพ์ในหนังสือชุด “ลัทธิธรรมเนียม ต่าง ๆ” โดย เชิดชาย บุตดี
- ความทรงจำต่อพระป่าสายหลวงปู่มั่นฯ ยุคบุกเบิก โดย ภัทระ ไมตระรัตน์, ทรงยศ วีระทวีมาศ
- พันเอกปิ่น มุทุกันต์ จากลูกอีสานสู่อนุศาสนาจารย์ นักรบผู้ปกป้องศาสนาพุทธในยุคสงครามเย็น โดย วิราวรรณ นฤปิติ
- พระธาตุพนมและข้าโอกาส: สังคม การเมืองและการประกอบสร้างตัวตนทางวัฒนธรรมในบริบทวัฒนธรรมพุทธศาสนาเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ โดย เกียรติศักดิ์ บังเพลิง
- สำนักหออาสนะคำพญาศรีสุทโธนาคราช : ชุมชนพิธีกรรมของผู้คนที่คำชะโนด โดย อนุชิต สิงห์สุวรรณ
- “ไลลา” พหุภาววิทยาของวัตถุมงคลสมัยใหม่ โดย ภัทริยา คงธนะ
- Khmer Ways of Seeing and Being Life-Experiences of Fortune-Tellers and their Clients in Cambodian Urban Culture โดย Poonnatree Jiaviriyaboonya
วรรณกรรม ผู้หญิงและอัตลักษณ์
- ภาพแสดงแทนผู้หญิงในวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้สมัยจารีตถึงยุคแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ โดย ทวีลักษณ์ พลราชม
- การจัดวางตำแหน่งแห่งที่ของ “ผู้หญิง” ในหนังสืออนุสรณ์งานศพ โดย อาทิตยา อาษา, ภาวิณี บุนนาค
- หุ่นยนต์ แรงงานคน และกลวิธีการฟื้นคืนอัตลักษณ์ความเป็นชาติในโลกอนาคตในนวนิยายบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์เรื่อง Plum Rains โดย อริยะ จินะเป็งกาศ
วรรณกรรม การเมืองและท้องถิ่น
- ความคิดทางการเมืองในเรื่องสั้น มือตัดสิน และ หิมพาล โดยนักเขียนอีสานสมคิด สิงสง และ สนั่น ชูสกุล ในทศวรรษ 2530 โดย จิณห์วรา ช่วยโชติ
- พื้นที่กับการต่อรองทางการเมืองในวรรณคดีลาวเรื่องท้าวเหลาคำ (เจ้าราชวงศ์) โดย รังสรรค์ นัยพรม
- ท้องถิ่นนิยมในนวนิยายกอทิกไทยร่วมสมัยแนวข้ามภพชาติ โดย วันตกานต์ บุญแย้ม
ประวัติศาสตร์
- คดีความในภาคเหนือตอนล่างและภาคใต้ของสยาม : ระบบราชการและการเป็น “โจร ผู้ร้าย” ตั้งแต่สมัยก่อนการปฏิรูปการปกครอง – พ.ศ.2475 โดย ศุภกิตติ์ หอไชย
- พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช มหาธรรมิกราชแห่งยุคทองของรัฐล้านช้าง โดย พิกุล สมัครไทย
- สถาปัตยกรรม“สมัยใหม่” ในท้องถิ่นเมืองมหาสารคาม ช่วง พ.ศ.2475-2527 โดย กิตติยา มหาวงษ์
- ความหมายของ “ชา” ในสังคมเมียนมาสมัยราชวงศ์ญองยาน ค.ศ.1597-1752 ในเอกสาร อเม่งด่อ (กฎรับสั่ง) โดย วทัญญู ฟักทอง
- เจ้าพ่อศรีนครเตากับปฏิบัติการช่วงชิงความหมายในพิธีกรรมและงานเฉลิมฉลองในช่วงหลังทศวรรษที่ 2540 – 2560 โดย นราวิทย์ ดาวเรือง
- การประกอบสร้างเรื่องเล่าสมเด็จพระนเรศวรมหาราชให้เป็นความทรงจำร่วมใหม่ของท้องถิ่นหนองบัวลำภูภายใต้กรอบโครงการประวัติศาสตร์ราชาชาติไทยทศวรรษ 2500-2510 โดยปิยวัฒน์ สีแตงสุก, ชาติชาย มุกสง
ลาวศึกษา
- เรื่องเล่าตำนานเจ้าอนุวงศ์กับการสร้างอุดมการณ์ชาตินิยมในสังคมลาวสมัยใหม่ โดย รินทร์ลภัส สืบสิมมา
- นโยบายของรัฐบาล สปป.ลาว ต่อการส่งเสริมบทบาทผู้หญิงผ่านสมาคมแม่หญิงลาวฮักชาติ ในระหว่าง ค.ศ. 1956 -1984 โดย ณัฐชัย อ่ำทอง, วศิน ปัญญาวุธตระกูล
- การต่อต้านขัดขืนสังคมสมัยใหม่ในเรื่องเล่ามุขตลกลาว โดย อ้อมทิพย์ มาลีลัย
เวียดนามศึกษา
- ชายขอบของสังคม: ปัญหาการพัฒนากลุ่มชาติพันธุ์ส่วนน้อยในเวียดนาม โดย วัชรี ศรีคำ
- การโอบรับ ปรับตัวของชุมชนท้องถิ่นคนไตในบริบทการทำให้เป็นสินค้าของสังคมเวียดนามร่วมสมัย โดย ณรงค์ฤทธิ์ สุมาลี
- การศึกษาหลักสูตรสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์เปรียบเทียบ: พัฒนาการทางการศึกษาและแนวคิดความเป็นพลเมืองของไทยและเวียดนาม โดย จตุพล สังวังเลาว์
- การเมืองเรื่องอัตลักษณ์ของศาสตร์ครุศึกษา: การท้าทายวิธีคิดวิทยาที่(ไม่)เป็นสมัยใหม่ โดย ออมสิน จตุพร
สังคมวิทยาการแพทย์
- “เรือนร่างท้องถิ่นอีสาน”: ประวัติศาสตร์การสร้างความเป็นอื่นและความเสี่ยงของการกินดิบ โรคาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีในภูมิภาคอีสาน โดย ชาติชาย มุกสง
- อีสานกับวัฒนธรรมการกินปลาดิบ: ความเป็นมาและความท้าทายทางวัฒนธรรมเพื่อปลอดภัยจากพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี โดย เทพพร มังธานี, ประสิทธิ์ คุณุรัตน์, เศกสรรค์ ยงวณิชย์, รุ่งอรุณ บุญสายันต์
- โรคเมลิออยโดสิสกับการผลิตความรู้ทางการแพทย์: ในความไม่รู้จักอย่างแพร่หลายในหมู่ของคนไทย โดย อัจฉรา ยะราไสย
ชายแดนศึกษาและแรงงานข้ามชาติ
- การพัฒนาภูมิเศรษฐศาสตร์ของเมืองเชียงของภายใต้บริบทอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (ไทย-สปป.ลาว-จีน) โดย พิทยา สุวคันธ์
- การสลายเส้นเขตแดนโดยท้องถิ่น: การสร้างความร่วมมือข้ามรัฐชาติภายใต้กรอบความร่วมมือ 3 ประเทศ (ไทย-ลาว-เวียดนาม) 9 จังหวัดที่ใช้เส้นทางหมายเลข 8 และ 12 โดย สุริยา คำหว่าน, วัชรี แซงบุญเรือง
- การส่งแรงงานชาวอีสานสู่ประเทศญี่ปุ่นภายใต้นโยบายใหม่ โดย วิชยา โยชิดะ
ปรัชญา
- ปัญหาความรุนแรงทางด้านความรู้ในแนวคิดเรื่องเหตุผลสาธารณะ โดย เจษฎากร บุญครองธรรม
- The Idea of Human Dignity Reconsidered: A Voice from Non-Western Perspectives โดย Muanmard Mookpradit
- การสร้างอัตลักษณ์อเมริกาบนฐานความคิดยุโรป โดย ณัฐหทัย มานาดี